ตรรกศาสตร์ เรื่องการหาค่าความจริงของประพจน์


การหาค่าความจริงของประพจน์

การหาค่าความจริงของประพจน์
                      ตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมแบบต่างๆที่กล่าวมาแล้ว มี
แล้วไว้เพื่อช่วยในการหาว่าประพจน์ใดเป็นจริงหรือเท็จ ดังในตัวอย่างต่อไปนี้
       ตัวอย่างที่1  จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้      “เชียงใหม่และธนบุรีเคยเป็นเมืองหลวงของไทย”    
    วิธีทำ ให้ p  แทน เชียงใหม่เคยเป็นเมืองหลวงของไทย    ให้ q  แทน ธนบุรีเคยเป็นเมืองหลวงของไทย
                  ประโยคที่กำหนดให้อยู่ในรูป p Λ qเนื่องจาก p เป็นเท็จ และ q เป็นจริง จะได้ p Λq เป็นเท็จ
                 ดังนั้น ประโยค “เชียงใหม่และธนบุรีเคยเป็นเมืองหลวงของไทย” มีค่าความจริงเป็นเท็จ 
        ตัวอย่างที่2  กำหนดให้ a , b และ c เป็นประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็น จริง จริง และเท็จ ตามลำดับ จงหา 
                                        (a Λ b) v c   
             วิธีทำ จาก a เป็นจริง b เป็นจริง จะได้ a Λ b เป็นจริง
                    จาก a Λ b เป็นจริง c เป็นเท็จ จะได้ (a Λ b) v c เป็นจริง
ตัวอย่างที่3  กำหนดให้ เป็นจริง เป็นเท็จ  r เป็นเท็จ และ เป็นจริง 
                                          จงหาค่าความจริงของ[(p Λ q) v r ]→ (p v s)
[(p
Λ
q)
v
r ]
(p
v
s)
T

F







F


F

T

T



F



T




T

     
ตารางค่าความจริง ตารางค่าความจริงแบบ2หลักคือp,q
p
q
pΛq
pVq
p→q
p↔q
T
T
T
T
T
T
T
F
F
T
F
F
F
T
F
T
T
F
F
F
F
F
T
T
ตารางค่าความจริงแบบ3หลักคือp,q,r
p
q
r
~p
~q
~r
T
T
T
F
F
F
T
T
F
F
F
T
T
F
T
F
T
F
T
F
F
F
T
T
F
T
T
T
F
F
F
T
F
T
F
T
F
F
T
T
T
F
F
F
F
T
T
T
*ในกรณีที่มีวงเล็บให้ทำวงเล็บก่อนทุกครั้งแต่ในกรณีที่ไม่มีวงเล็บควรจัดระดับความ
สำคัญดังนี้ 
              อันดับที่ 1   ~ นิเสธ
              อันดับที่ 2   Λ และ,V หรือ
              อันดับที่  3  →ถ้า…แล้ว ,  ↔ ก็ต่อเมื่อ   
หลักสังเกตและเทคนิคการจำของตารางค่าความจริง
      จากตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมทั้ง5จะพบว่า
   1. ~ p    มีค่าความจริงตรงกันข้ามกับค่าความเป็นจริงของp
   2. pΛq  เป็นT กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้งp และq เป็นT
   3. pVq  เป็นF กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้งp และq เป็นF
   4. p→q เป็นF กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้งp เป็นT และq เป็นF
   5. p↔q เป็นT เมื่อp และq มีค่าความจริงเหมือนกัน
หลักพิจารณาจำนวนแถวของตารางค่าความจริง
2 ประพจน์
p
q
T
T
T
F
F
T
F
F
3 ประพจน์
p
q
r
T
T
T
T
T
F
T
F
T
T
F
F
F
T
T
F
T
F
F
F
T
F
F
F


อ้างอิง

https://chuvej.wordpress.com/%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99-%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น